Qc คือ ตํา แห น่ ง อะไร

หน้าที่ที่แท้จริงของ พนักงาน QC (Quality Control): ถามว่าหน้าที่ของพนักงาน QC คืออะไร? ส่วนมากตอบว่า ตรวจสอบหาของเสียให้พบ ยิ่งตรวจสอบเจอมาก จะหมายถึงพนักงาน QC ท่านนั้นมีความสามารถในการตรวจสอบดี เพราะเจอของเสียมาก ตรวจสอบได้เก่ง ถามต่อว่า พนักงาน QC ควรอยู่ในจุดไหนของ Line การผลิตจึงจะทำงานได้ดีที่สุด? ส่วนมากก็จะตอบว่า ท้าย Line การผลิตครับ เพราะจะเห็นของเสียได้อย่างชัดเจนและจำนวนมาก จึงจะสามารถเห็นและคัดออกได้ก่อนจะถึงมือลูกค้าได้ทัน ทั้ง 2 คำตอบนี้ใช่หรือไม่ ช่วยกรุณาตอบให้ทราบตามที่พวกเราเข้าใจหน่อยครับ แล้วผมจะเฉลยให้ฟังในตอนต่อไปครับ ผิดถูกไม่สำคัญครับ สำคัญอยู่ที่ว่าเข้าใจว่าอย่างไร?

ควรรู้ก่อนสมัครงาน! ระหว่างงาน QA กับงาน QC ต่างกันอย่างไร?

โดยปกติทั่วไปในตลาด สินค้าที่มีคุณภาพดีกว่าย่อมมีราคาที่สูงมากกว่าสินค้าด้อยคุณภาพ ราคาที่ถูกกำหนดขึ้นจึงมีค่าขึ้นอยู่กับคุณภาพของสินค้า ซึ่งในสมัยก่อนคุณภาพของสินค้านั้นค่อนข้างมีความแตกต่างและหลากหลาย บางชนิดถูกนำมาวางจำหน่ายโดยที่เป็นสินค้าที่มีคุณภาพไม่ได้มาตรฐานหรือมีคุณภาพไม่เหมาะสมกับราคา รัฐบาลจึงได้แก้ปัญหาดังกล่าวด้วยการกำหนดมาตรฐานคุณภาพสินค้า เพื่อใช้สำหรับควบคุมคุณลักษณะของสินค้าทั้งทางกายภาพและทางเคมี ได้แก่ ความเป็นกรด น้ำหนัก ขนาด และสี เป็นต้น โดยในปัจจุบันแนวทางหนึ่งของการควบคุมผลิตภัณฑ์หรือสินค้าบางชนิด จะใช้วิธีการกำหนดคุณภาพด้วยมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ม. อ. ก. )

ตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ (Raw Material) ต้องตรวจสอบวัตถุดิบทั้งหมดที่นำมาใช้เพื่อการผลิต โดยวัตถุดิบทุกชิ้นจะต้องมี Certificate of Analysis ซึ่งต้องทราบข้อมูลของผู้นำเข้าและผู้ขายอย่างชัดเจน จากนั้นก็ต้องทำการสุ่มตรวจวัตถุดิบด้วย 2. ตรวจสอบคุณภาพบรรจุภัณฑ์ (Packaging) ต้องตรงตามมาตรฐาน โดยการตรวจสอบตามขั้นตอนเหมือนกับการตรวจสอบวัตถุดิบ และจะต้องสุ่มตรวจบรรจุภัณฑ์ตาม AQL (เปอร์เซ็นต์สูงสุดของผลิตภัณฑ์ที่เสียในกระบวนการผลิตที่ยอมรับได้) ที่กำหนดไว้ 3. ตรวจสอบคุณภาพเนื้อผลิตภัณฑ์ (Bulk) แบ่งการทดสอบเป็น 2 ลักษณะ คือ 3. 1 การทดสอบทางกายภาพและทางเคมีของเนื้อผลิตภัณฑ์ (Physical Chemical Testing) ได้แก่ ลักษณะภายนอก (Appearance), สี (Color), กลิ่น (Odor), ความเป็นกรด-ด่าง (pH) และความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ (Viscosity) 3. 2 การทดสอบเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และเชื้อก่อโรคต่างๆ ตามที่กฎหมายกำหนด (Microbiology Testing) โดยการส่งตรวจที่ห้องปฏิบัติการที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO17025 4. ตรวจสอบคุณภาพระหว่างการผลิต โดยจะมีตำแหน่ง QC Line ที่ต้องตรวจสอบไลน์การผลิต เช่น การสุ่มตรวจก่อนเริ่มไลน์ 10 ชิ้นแรก และสุ่มตรวจทุกชั่วโมง รวมถึงการตรวจสอบการติดสติกเกอร์ การใส่กล่อง ให้ตรงตามมาตรฐาน 5.

ทำความรู้จักงาน Quality Assurance กับงาน Quality Control ก่อนสมัครงาน! ก่อนที่เราจะไป สมัครงาน ใน ตำแหน่ง QA หรืองานใน ตำแหน่ง QC นั้น เราควรที่จะต้องรู้ก่อนว่าทั้งสอง ตำแหน่ง งานนี้ ต่างกันอย่างไร? แล้วแต่ละงานมี หน้าที่ ทำอะไรบ้าง? เชื่อว่าหลายคนคงต้องเคยได้ยินคำว่า QA ( Quality Assurance) และ QC ( Quality Control) กันมาบ้างในเรื่องของกระบวนการผลิต โดยทั้งสอง ตำแหน่ง นี้จะทำงานในสายการผลิตเช่นเดียวกัน รวมถึงมีการทำงานที่ประสานกันอยู่ แต่ หน้าที่ ของทั้งสอง ตำแหน่ง นี้ก็จะแตกต่างกันอย่างชัดเจน และต้องบอกก่อนเลยว่า QA กับ QC ของแต่ละองค์กรนั้นก็อาจจะรับผิดชอบหรือมีขอบข่ายงานที่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับบริบท มุมมอง ข้อจำกัด หรือวัตถุประสงค์ของแต่ละองค์กรด้วย ระหว่างงาน QA กับงาน QC ต่างกันอย่างไร? สำหรับผู้ สมัครงาน หลายๆ คนที่กำลังสงสัยว่า หน้าที่ ของ QA และ QC ต่างกันอย่างไร? วันนี้เรามีคำตอบมาอธิบายให้ผู้ สมัครงาน ทุกคนเข้าใจได้อย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น และเพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้สมัครในการเตรียมตัวก่อน สมัครงาน ค่ะ QA (Quality Assurance) หรือ การประกันคุณภาพ คืออะไร?

  1. QC หรือ QA ตำแหน่งไหนดี??? - Pantip
  2. เน็ต ดี แท ค 5 บาท
  3. Bleu de chanel 100ml ราคา d
  4. เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพ (Quality Control-Q.C.) - CHI

ตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ (Raw Material) ต้องมีการตรวจสอบวัตถุดิบทุกตัวที่นำมาใช้ในการผลิต โดยวัตถุดิบทุกชิ้นจะต้องมี Certificate of Analysis ที่สามารถตรวจสอบข้อมูลของผู้นำเข้าและผู้ขายได้อย่างชัดเจน รวมถึงมีการสุ่มตรวจวัตถุดิบด้วย 2. ตรวจสอบคุณภาพบรรจุภัณฑ์ (Packaging) บรรจุภัณฑ์ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน และมีการตรวจสอบเช่นเดียวกับการตรวจสอบวัตถุดิบ แต่มีข้อแตกต่างกันเล็กน้อยด้วยการใช้หลักการ Sampling plan ที่จะสุ่มตรวจสอบบรรจุภัณฑ์ให้ได้ตามมาตรฐาน AQL (เปอร์เซ็นต์สูงสุดของผลิตภัณฑ์ที่เสียในกระบวนการผลิตที่ยอมรับได้) ที่กำหนดไว้ 3. ตรวจสอบคุณภาพเนื้อผลิตภัณฑ์ (Bulk) แบ่งการทดสอบเป็น 2 ลักษณะ คือ - Physical Chemical Testing คือ การทดสอบทางกายภาพและทางเคมีของเนื้อผลิตภัณฑ์ ซึ่งประกอบด้วย ลักษณะภายนอก (Appearance), สี (Color), กลิ่น (Odor), ความเป็นกรด-ด่าง (pH) และความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ (Viscosity) - Microbiology Testing คือ การทดสอบเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และเชื้อก่อโรคต่างๆ ตามที่กฎหมายกำหนด โดยส่งตรวจที่ห้องปฏิบัติการที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO17025 4. ตรวจสอบคุณภาพระหว่างการผลิต มีตำแหน่งเฉพาะเรียกว่า QC Line ทำ หน้าที่ ในการตรวจสอบไลน์การผลิตผลิตภัณฑ์ เช่น การสุ่มตรวจก่อนเริ่มไลน์ 10 ชิ้นแรก และดำเนินการสุ่มตรวจผลิตภัณฑ์ในไลน์ทุกชั่วโมง หรือตรวจดูการติดสติกเกอร์ การใส่กล่อง และอื่นๆ ว่าตรงตามมาตรฐานหรือไม่ เพื่อป้องกันการผิดพลาดขณะทำงาน 5.

ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป (Finish Good) โดยการสุ่มตรวจว่าตรงตามมาตรฐานหรือไม่ พร้อมเก็บ Retain Sample ซึ่งเป็นการเก็บผลิตภัณฑ์สำหรับนำมาตรวจสอบภายหลังอีกครั้ง เช่น ผลิตภัณฑ์เป็นครีมทาผิว ก็จะตรวจสอบคุณภาพของครีมในช่วงเวลาที่อยู่ในกำหนดวันหมดอายุ ด้านวุฒิการศึกษา ส่วนใหญ่จะเปิดรับตั้งแต่วุฒิปวส.

ตรี ขึ้นไป ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับงานนั้นๆ เช่นวิศวกรรม ซึ่งอาจต้องมีใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม (กว.

รายละเอียดงาน - รับผิดชอบการตรวจสอบคุณภาพของงานระหว่างกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์สินค้าสำเร็จรูป - วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาคุณภาพร่วมกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ประสานงานกับฝ่ายผลิตรวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในเรื่องปัญหาคุณภาพสินค้า คุณสมบัติผู้สมัคร เพศชาย อายุ 18 ปีขึ้นไป วุฒิการศึกษา ม. 6/ปวช. /ปวส. สาขาที่เกี่ยวข้อง มีประสบการณ์เกี่ยวกับตรวจสอบคุณภาพ 0-2 ปี มีประสบการณ์เกี่ยวกับงานขึ้นรูปโลหะ งานไม้ งานเก้าอี้ จะพิจารณาเป็นพิเศษ มีประสบการณ์เกี่ยวกับงานควบคุมคุณภาพหรืองานควบคุมคุณภาพที่เกี่ยวข้องกับเฟอร์นิเจอร์ มีความรู้พื้นฐานการใช้เครื่องมือวัดประเภทเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ ขยัน อดทน มีความกระตือรือร้นในการทำงาน สวัสดิการ 1. เงินค่าล่วงเวลา(OT) *บางตำแหน่ง 2. เงินเบี้ยขยัน *บางตำแหน่ง 3. เงินจูงใจ(ค่าควาสามารถ) *บางตำแหน่ง 4. เงินค่ากะ *บางตำแหน่ง 5. ปรับเงินเดือนประจำปี *ตามผลประกอบการ 6. โบนัสประจำปี *ตามผลประกอบการ 7. เงินกู้ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 8. เงินช่วยแต่งงาน 9. เงินรับขวัญบุตร 10. เงินค่าเยี่ยมไข้ 11. เงินช่วยเหลืองานพิธีศพ 12. เงินช่วยเหลือไฟไหม้ /น้ำท่วม 13. ลาพักร้อน 6 - 10 วัน/ปี 14.

ไม่รุ้จะแท็กอะไรจิงๆ ผิดๆถูกๆโทดทีนะค่ะ แสดงความคิดเห็น

ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป (Finish Good) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีการสุ่มตรวจว่าผลิตภัณฑ์ที่สำเร็จรูปแล้วเป็นไปตามมาตรฐานหรือไม่ รวมถึงมีการเก็บ Retain Sample เพื่อนำมาตรวจสอบภายหลังอีกครั้ง ขอบคุณข้อมูลจาก jobsDB

Thu, 29 Jul 2021 19:32:21 +0000