การ เขียน ย่อ ความ ม 3

การเขียนย่อความ หมายถึง การนำใจความสำคัญของเรื่องมาเรียบเรียงใหม่ เพื่อให้สั้น กระชับ และเข้าใจง่าย เพื่อให้สะดวกในการอ่าน การเขียนย่อความเป็นการเขียนจากการอ่านเก็บใจความสำคัญเรื่อง แล้วนำมาเรียบเรียงใหม่เป็นถ้อยคำสำนวนของผู้เขียนเอง โดยเขียนในรูปแบบของย่อความ หลังจากที่อ่านเนื้อหาที่ย่อความแล้วยังสามารถที่จะเข้าใจเนื้อหาได้ทั้งหมด จุดหมายในการเขียนย่อความ ๑. เพื่อนิยามความหมาย ๒. เพื่อสรุปย่อความ ๓. เพื่อเล่าเรื่องย่อ หลักในการเขียนย่อความ ๑. อ่านเนื้อเรื่องโดยละเอียดอย่างน้อย ๒ รอบ เพื่อทำความเข้าใจเนื้อหา อะไร ใครทำอะไร กับใคร ที่ไหน เมื่อไร มีผลเป็นอย่างไร และสุดท้ายเป็นแบบใด ๒. แยกว่า เนื้อหาที่นำเสนอเป็นงานเขียนแบบใด ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น หรือแสดงอารมณ์ ๓. บันทึกเนื้อหาที่สำคัญเป็นถ้อยคำของผู้เขียน ๔. ตัดเนื้อหาที่ไม่จำเป็นออก เช่น การยกตัวอย่าง รายละเอียด ส่วนผสม การเปรียบเทียบ ๕. ถ้ามีเนื้อหาเกี่ยวกับคำพูด ต้องเปลี่ยนสรรพนามบุรุษที่ ๑ และ ๒ กลายเป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓ ๖. ไม่ควรย่อความเป็นอักษรย่อ ยกเว้นคำที่เข้าใจดี เช่น พ. ศ. ๗. ใช้คำสั้นที่สุดและเข้าใจง่าย ๘. ใช้คำที่ครอบคลุม เช่น ชาวสวน ชาวนา ชาวไร่ ให้ใช้คำว่า เกษตรกร แทน ๙.

การ เขียน ย่อ ความ ม 3 ans

แบบของข่าว ย่อข่าวเรื่อง_____________________ของ_____________________ ลงวันที่__________________ความว่า ๕. แบบของโอวาท คำปราศรัย สุนทรพจน์ ย่อ____________เรื่อง_________________แก่_________________ เนื่องใน__________________ที่_________________ณ วันที่_________________ความว่า ๖. แบบของปาฐกถา คำสอน คำบรรยาย ถ้อยแถลง ย่อ____________ของ__________________เรื่อง__________________ แก่___________________ที่____________________ ณ วันที่____________________ เวลา____________________ความว่า ๗. แบบพระบรมราโชวาท เทศนา ย่อ (พระบรมราโชวาท เทศนา) ใน__________________พระราชทานแก่___________________ ใน__________________ที่_________________ณ วันที่_________________ความว่า ๘. แบบของจดหมายเหตุ จดหมายเหตุรายวัน บันทึกความจำ ย่อ_____________ของ_________________เนื่องใน_________________ ลงวันที่______________เรื่อง_________________ความว่า ๙. แบบคำประพันธ์ที่เป็นบทร้อยกรอง ย่อคำประพันธ์ประเภท_______________เรื่อง___________________ ของ___________________ตอน_________________ ความว่า ๑๐.

ภาษาไทย ม.3: การเขียนย่อความ

การ เขียน ย่อ ความ ม 3.1

การเขียนย่อความ - Phakhawan & KruNuch

ย่อคำสอน คำกล่าวปาฐกถา ให้บอกประเภท ชื่อเรื่อง เจ้าของเรื่อง ผู้ฟัง สถานที่ และเวลาเท่าที่จะทราบได้ เช่น ๓. การเขียนบทความทางวิชาการ ให้บอกประเภท ชื่อเรื่อง เจ้าของเรื่อง ที่มาของเรื่อง เช่น ๔. ย่อบันทึกเหตุการณ์(จดหมายเหตุ) วิดีโอ YouTube

การ เขียน ย่อ ความ ม 3.3

  1. การ เขียน ย่อ ความ ม 3.6
  2. กางเกง เล ราคาถูก ซื้อออนไลน์ที่ Lazada.co.th
  3. The famous grouse มี ขาย ที่ไหน youtube
  4. ตั้ง ค่า การ โทร samsung
  5. การ เขียน ย่อ ความ ม 3.1
  6. ส ตั๊ ด ปุ่ม เหล็ก มือ สอง
  7. ข้อสอบ โอ เน็ต คณิต ม 6 ปี 58 พร้อม เฉลย
  8. การ เขียน ย่อ ความ ม 3.5
  9. ไอ ซ์ เอ จ 2 เต็ม เรื่อง
  10. สปอร์ต ไล ท์ led 12v 20 juin

การ เขียน ย่อ ความ ม 3.5

การเขียนย่อความ ย่อความ คือ การเก็บใจความเรื่องที่อ่านหรือฟังอย่างย่อ ๆ โดยให้มีเนื้อหาครอบคลุมสาระสำคัญของเรื่องครบถ้วน มีหลักการเขียนดังนี้ ๑. ใช้คำนำให้ถูกต้องตามประเภทของเรื่อง ๒. ใช้สรรพนามบุรุษที่ ๓ ๓. ใช้สำนวนผู้ย่อ ถ้าเป็นร้อยกรองก็ต้องเปลี่ยนเป็นร้อยแก้ว ยกเว้นคำราชาศัพท์ให้คงไว้ตามเดิม ๔. หากใจความที่ย่อไม่มีชื่อเรื่อง ต้องคิดชื่อเรื่อง ๕. เขียนเรื่องที่ย่อติดกัน ขึ้นย่อหน้าใหม่เฉพาะเนื้อความที่แยกไว้หรือไม่เกี่ยวข้องกัน ๖. อ่านเนื้อความให้ละเอียด เพื่อหาประโยคใจความสำคัญและประโยคประกอบก่อนลงมือย่อความ ๗. นำประโยคใจความสำคัญและประโยคประกอบมาเรียงให้สละสลวยได้ใจความ ๘. ควรย่อความให้สั้นที่สุด โดยเก็บประโยคใจความสำคัญและประโยคประกอบที่เด่น ๆ ไว้ รูปแบบการขึ้นคำนำย่อความ ๑. แบบของบทความ สารคดี ตำนาน นิทาน นิยาย เรื่องสั้น ฯลฯ ย่อ_______________เรื่อง_________________ของ_________________ จาก_________________ความว่า ๒. แบบของจดหมาย สาส์น หนังสือราชการ ย่อ______________ฉบับที่_________________ของ_________________ ลงวันที่______________ความว่า ๓. แบบของประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ ระเบียบคำสั่ง ฯลฯ ๔.

  1. Starlight night vision rear view mirror driving recorder ราคา 2
  2. อะ โว คา โด นม สด
  3. ตรวจหวย 1 เมษายน 2564
  4. หมวก กัน น็อค จักรยาน วิบาก ฟรี
Wed, 28 Jul 2021 15:06:35 +0000