การ ฟัง อย่าง มี ประสิทธิภาพ

  1. ทักษะการฟัง
  2. 1.3 หลักการฟัง - ภาษาไทยกับการใช้
  3. การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ - รายวิชาที่สอน

สร้างความสนใจและความต้องการที่จะฟัง การฟังอย่างมีประสิทธิภาพควรเริ่มมาจากการพัฒนาให้ผู้ฟังมีนิสัยรักการฟัง โดยการฝึกฟังเรื่องต่างๆ ที่จะช่วยพัฒนาทักษะการฟังอยู่เสมอ ให้ความสนใจกับเรื่องที่ฟัง แม้เรื่องที่ฟังจะไม่ตรงกับความสนใจของตนเองก็ตาม 2. กำหนดวัตถุประสงค์ในการฟัง ผู้ฟังควรกำหนดวัตถุประสงค์ในการฟังทุกครั้งและควรกำหนดให้ชัดเจนด้วย เช่น ฟังเพื่อความรู้ หรือฟังเพื่อความบันเทิง เป็นต้น การกำหนดวัตถุประสงค์จะช่วยสร้างแนวทางในการฟัง ทาให้ผู้ฟังได้เตรียมความพร้อมอย่างเหมาะสม ซึ่งจะช่วยให้ผู้ฟังสามารถจับประเด็นสาคัญของสารที่ฟังได้ง่ายขึ้น 3. ฝึกสมาธิ ผู้ฟังควรตั้งใจฟัง มีสมาธิกับเรื่องที่กำลังฟัง ไม่พยายามสนใจต่อสิ่งรอบข้าง เพื่อให้ได้ข้อมูลครบถ้วน ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ หรือหากมีข้อสงสัยจะได้เตรียมสอบถามผู้พูดได้อย่างตรงประเด็น การมีสมาธิในการฟังจะทาให้ผู้ฟังสามารถจดบันทึกประเด็นสำคัญได้อย่างครบถ้วนด้วย 4. ฝึกการจดบันทึก ในขณะฟัง ผู้ฟังควรจดบันทึกข้อมูลที่สำคัญไปด้วย การจดบันทึกนั้นไม่จาเป็นต้องจดทุกคาพูดเพราะจะทำให้พะวงกับการจดให้ทัน การจดบันทึกไม่มีรูปแบบที่ตายตัว ขึ้นอยู่กับวิธีการและความถนัดของผู้ฟังแต่ละคน อาจบันทึกในรูปของคาำย่อ คาสั้นๆ ข้อความสั้นๆ ทาเครื่องหมายหรือทาเป็นตารางหรือแผนภาพก็ได้ เมื่อจดบันทึกเสร็จ ผู้ฟังควรนามาเรียบเรียงในแบบสรุปความเพื่อทาให้เกิดความเข้าใจและอ่านทบทวนเรื่องที่ฟังได้สะดวก 5.

ทักษะการฟัง

เวลาฟังการพูดให้สนใจที่เนื้อหาของเรื่องที่พูด ไม่ใช่สนใจแต่วิธีการนำเสนอของผู้พูดเพียงอย่างเดียว เพราะสิ่งนั้นเป็นแค่สิ่งเสริมของผู้พูดที่จะแสดงออกมาให้ผู้ฟังเข้าใจ เราควรจะคิดว่าเขาพูดอะไรมากกว่า มากกว่าที่จะไปดูว่าเขาพูดอย่างไร ๓. ฟังอย่างตั้งใจ ฟังอย่างคนที่มองโลกในแง่ดีเสมอ อย่าหยุดฟังเมื่อความเห็นของเราไม่ตรงกับกับผู้พูด หรืออย่ารีบที่จะหมดความสนใจให้เร็วไปนัก เพราะถ้าเราเลิกสนใจเมื่อไร ก็ยากที่เราจะกลับมาฟังอย่างตั้งใจอีกครั้ง ๔. อย่าด่วนสรุปในตนเอง อย่าสรุปด้วยตนเองว่าเรารู้แล้ว เราเข้าใจแล้ว ไม่จำเป็นต้องฟังอีกต่อไป เพราะสิ่งที่คุณรู้อยู่แล้วนั้น บางทีคุณอาจตกหล่นรายละเอียดอะไรไปบางอย่างก็ได้ และไม่ดีแน่ถ้าสิ่งนั้นเป็นสิ่งที่สำคัญซะด้วยสิ ๕. เมื่อฟังแล้วคุณไม่สามารถจำในสิ่งที่ฟังมาได้ ก็ควรหาวิธีจำนั่นก็คือการ " จดบันทึก " และการจดก็ต้องฟังแล้วจดในรูปแบบของภาษาที่เราเข้าใจด้วย อย่าไปจดตามคำพูดเด็ดขาดเพราะปัญหาก็คือภาษาของการรับรู้ของเราแต่ละคนมัน ไม่เหมือนกัน ๖. มีสมาธิในการฟังให้มาก พยายามสบตากับผู้พูดเสมอเพื่อลดการเหม่อลอยของเราเอง แน่นอนยิ่งฟังนาน ๆ ทุกคนย่อมปล่อยอารมณ์ไปเรื่อย ๆ จนบางครั้งเราคิดว่าตัวเองกำลังฟังอยู่อย่างตั้งใจแต่จริง ๆ แล้วเรากลับให้ใจเราล่องลอยไปซะแล้ว ๗.

1.3 หลักการฟัง - ภาษาไทยกับการใช้

  • การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ - รายวิชาที่สอน
  • 1.3 หลักการฟัง - ภาษาไทยกับการใช้
  • Form 2 3d printer ราคา 2
  • The battleship island ส ปอย series
  • ทักษะการฟัง
  • หาที่เรียนภาษาจีนในภูเก็ต - Pantip
  • ภาค 2 hitman 2 silent assassin 2002 relatif
  • เสื้อยืดลายโค้ก เสื้อยืดโค้กสีแดง เสื้อยืดcoca cola เสื้อยืดวินเทจ เสื้อยืดสีแดง เสื้อยืด เสื้อยืดผู้ชาย | Lazada.co.th

การฟังหรือดูเฉพาะหน้าผู้ใหญ่ ควรสำรวมกิริยาอาการ สบตาผู้พูดเป็นระยะ ๆ ให้พอเหมาะ ไม่ชิงพูดก่อนที่จะพูดจบความ เมื่อไม่เข้าใจให้ถามเมื่อผู้ใหญ่พูดจบกระแสความ ๒. การฟังหรือดูในห้องประชุม ตั้งใจฟัง จดบันทึกสาระสำคัญ ไม่กระซิบพูดกัน ไม่ทำกิจส่วนตัว ถ้าจะพูดให้ยกมือขออนุญาตจากประธานในที่ประชุมก่อน ๓. การฟังหรือดูการพูดในที่ประชุม การฟังหรือดูการพูดอภิปราย บรรยาย ปราฐกถา ต้องฟังด้วยความสำรวม แสดงความสนใจ ถ้าจะซักถามหรือแสดงความคิดเห็น ควรรอให้การพูดนั้นสิ้นสุดลงก่อน ๔. การฟังหรือดูในที่สาธารณะ ต้องรักษาความสงบและเพื่อไม่ให้รบกวนสมาธิของผู้พูด ไม่ควรเดินเข้าออกพลุกพล่าน ไม่พูดคุยเสียงดัง ซึ่งถือว่าเป็นการแสดงความไม่รู้กาลเทศะและไม่ให้เกียรติผู้พูด การรับสารโดยใช้ทักษะการฟัง การดูเพื่อให้สัมฤทธิผลนั้น ผู้รับสารต้องอาศัยปัจจัยต่าง ๆ ในการฟัง การดู เพื่อให้การรับสารมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยการพิจารณาสาร แยกแยะข้อเท็จจริงและสรุปใจความสำคัญ วิเคราะห์ ใคร่ครวญ วินิจสารและประเมินค่า ซึ่งสิ่งเหล่านี้ต้องอาศัยการหมั่นฝึกฝนเป็นประจำ จึงจะช่วยให้ผู้รับสารสามารถนำสารที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิต ประจำวันได้อย่างสัมฤทธิผล ที่มา วันชัย แย้มจันทร์ฉาย

การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ - รายวิชาที่สอน

การนั่งฟัง ผู้ฟังควรนั่งฟังด้วยความสุภาพเรียบร้อย ไม่เหยียดขาออกมา ไม่นั่งไขว่ห้าง หากนั่งกับพื้นควรนั่งพับเพียบ โดยเฉพาะเมื่ออยู่ต่อหน้าพระสงฆ์หรือผู้ใหญ่ ในขณะฟังเทศน์ควรพนมมือขณะฟังด้วย นั่งมือวางซ้อนกันบนตัก ไม่ควรพิงพนัก ตามองผู้พูด ลักษณะเช่นนี้เป็นสิ่งที่ผู้ฟังควรฝึกปฏิบัติให้เคยชิน 2. การยืนฟัง ขณะยืนฟังควรยืนตัวตรง ส้นเท้าชิด มือกุมประสานกันยกมือขึ้นเล็กน้อย ตามองผู้พูด ไม่ยืนอย่างสบายเกินไป ไม่เท้าสะเอว เท้าแขนบนโต๊ะ หรือยืนค้าศีรษะผู้ใหญ่ 3. การฟังการสนทนาหรือฟังผู้ใหญ่พูดขณะเดิน ควรเดินเยื้องไปทางด้านหลังผู้ใหญ่ด้านใดด้านหนึ่งเล็กน้อย ไม่เปลี่ยนด้านไปมา เดินด้วยความสำรวม และตั้งใจฟัง หลักการฟังที่กล่าวไปทั้งหมดข้างต้น เป็นสิ่งที่ผู้ฟังต้องฝึกฝนและพัฒนาเพื่อการฟังอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะการฟังที่มีประสิทธิภาพเป็นเรื่องสำคัญต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน โดยสามารถทำให้ชีวิตดำเนินไปได้อย่างมีคุณภาพและปกติสุขได้

Thu, 29 Jul 2021 06:10:11 +0000